วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559


ได้รับความเห็นชอบแต่ก่อนที่จะก้าวออกไปอีกหนึ่งก้าวแล้วพูดว่าใช้กล่องไฟถ่ายรูปสิดีภาพที่ถ่ายจะออกมาดี

นายแลง เหตระกูล และนัยว่าได้รับความเห็นชอบแต่ก่อนที่จะก้าวออกไปอีกหนึ่งก้าว คุณสนิท เอกชัย มีความคิดถึงสว้สดิภาพของคนทำงานที่ไม่มีหลักประกันอะไรทั้งๆ ที่ทุกผู้คนล้วนทุ่มเททำงานชนิดที่เรียกได้ว่าหามรุ่งหามคํ่าทีเดียวแต่การที่จะสร้างหลักประกันได้นั้น สิ่งสำคัญก็คือ เงินการเจรจาเอาจากผู้เป็นเจ้าของ สมมติว่าได้มีเงินก้อนหนึ่ง เจ้าเงินก้อนนั้นก็คงจับจ่ายจนหมดไปหมดแล้วขอมาใหม่อีก รูปแบบอย่างนี้ไม่น่าเป็นไปได้ และถึงจะเป็นได้ก็ไม่ดีคุณสนิทจึงได้คิดหาหนทางที่สามารถจะทำให้เงินงอกเงยขนโดยไม่ต้องไปยุ่งกับเจ้าของหนังสือพิมพ์เรื่องนี้ กล่องไฟสตูดิโอ ผมจะไม่ถ่ายทอดเรื่องราวแต่จะนำเอาข้อเขียนของ น้ำหอม หรือคุณเซลง กัทสืรดะพันธุเขียนไว้ไม่ยืดยาวในหนังสือที่ระลึกงานฌาปนกิจศพ สนิท เอกชัย ดังนี้แรงปันดาลใจที่จะสร้างหลักประกันให้แก่คนทำงานที่อยู่กับความเสี่ยงเป็นเสี่ยงตายคือคนทำหนังสือพิมพ์คุณสนิทจึงหาทางให้บริษัทจัดหาเงินรายได้ลักช่องทางหนึ่งเพื่อเป็นทุนสวัสดิการสงเคราะห์แก่คนในกองบรรณาธิการ กล่องไฟถ่ายภาพ โดยตกลงว่าเงินที่ได้จากค่าโฆษณาย่อยหมายถึงโฆษณาชิ้นเล็กๆ ขนาดหนึ่งคอลัมน์สูงราวๆ ๒-๓ นิ้วและไม่ใช่โฆษณาที่มาจากบริษัททั้งหลายที่มีขนาดใหญ่มาเป็นทุน ค่อยๆเก็บเอาทีละเล็กละน้อยโดยตั้งวัตถุประสงค์การใช้เงินก้อนนี้เพื่อสงเคราะห์เพื่อนร่วมงานที่เดือดร้อน หากว่า หนังสือพิมพ์ถูกปิดคุณเซลงได้เขียนยาวออกไปอีกหน่อยถึงเงินก้อนนี้ว่าสุดท้ายแล้วมันหมดไปได้อย่างไรแต่บังเอิญผมนึกขึ้นได้ในเรื่องซองค่าโฆษณาย่อยนี้ว่า เรามักจะได้ยินการพูดกระทบกระเทียบว่าเป็นห่วงก็แต่กองบรรณาธิการแล้วคนในกองอื่นที่ร่วมทำงานอยู่ด้วยล่ะ เช่น กล่องไฟสตูดิโอ ราคา ฝ่ายปัญซีการเงินและฝ่ายโฆษณาเมื่อตกลงใหม่ๆ เสียงที่เปรียบเปรยอยู่ข้างจะถี่แต่เมื่ออยู่ๆ ไปโดยมิได้มีการตอบโต้แถมคุณสนิทเองยังเคยนั่งคุยกับผู้จัดการฝ่ายโฆษณาคือคุณเวียนนิ บำรุงรัฐ ภรรยาคุณทินกรบำรุงรัฐ อดีตผู้จัดการซึ่งเป็นผู้ร่วมริเริ่มให้เดลิเมล์เกิดด้วยให้เกิดความเข้าใจดี ทุกอย่างก็ค่อยๆ ดีฃึ้นจนกระทั้งคุณเวียนนิเองก็ยังสนับสนุนในล่วนซองโฆษณาย่อยนี้ด้วยจะว่าไปเรื่องของผลประโยชน์นั้นเป็นธรรมดาที่จะมีการยึดมั่นถือมั่นอยู่ข้างตัวเองก่อนแต่ความเข้าใจดีต่อกันนั้นย่อมนำไปยู่ความสมานฉันท์อ๊ะผมขอยืมเอาคำนี้มาใช้สักหน่อยเพราะอ่านแล้วเห็นภาพชัดเรื่องของสวัสดิการคนหนังสือพิมพ์นั้นในยุคนั้นถือว่าเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยาก กล่องไฟฉากขาว
 จะว่าคนไม่นิยมอ่านก็ไม่ใช่แต่ที่น่าจะเป็นสาเหตุสำคัญก็คือเมื่อผลิตหนังสือพิมพ์ออกมาแล้วโดยเนื้อแท้คือค่ากระดาษค่าใช้จ่ายสารพัดรวมทั้งคนทำงานไม่ว่าจะขายหนึ่งบาท ในยุคนั้น หรือแปดบาท ในยุคนี้ เป็นราคาขายขาดทุนทั้งสิ้นยิ่งจำนวนพิมพ์น้อยต้นทุนก็ยิ่งสูงหนังสือพิมพ์รายวันรายสัปดาห์หรือรายอะไรก็ตาม จำต้องมีโฆษณาสินค้ามาเป็นส่วนสำคัญทำให้ค่าเฉลี่ยต้นทุนลดลงทำให้ค่าเฉลี่ยรายได้ส่งผลให้หนังสือพิมพ์นั้นๆ ยืนอยู่ได้แม้แต่ในปัจจุบันนี้จะเห็นโฆษณาสินค้ามากมาย
กล่องไฟถ่ายภาพสินค้า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น